ออกแบบระบบช่วยคนให้มีความสุขด้วย Design Thinking

หัวข้อโจทย์ Project: ออกแบบระบบช่วยคนให้มีความสุข (Happiness in Society)

ชื่อ Project: บอร์ดความสุข

ขั้นตอนที่ 1: BASE กำหนดโจทย์

 ในขั้นตอนนี้จะทำการจินตนาการสิ่งที่อยากให้มี ตามหัวข้อโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย “ออกแบบระบบช่วยคนให้มีความสุข (Happiness in Society)” ซึ่งสมาชิกในกลุ่มก็ได้ช่วยกันระดมความคิด โดยเขียนผ่านทาง Post-it

 ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ก็มีออกมาดังนี้

“ทุกอย่างเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น”

“ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม”

“สร้างสังคมที่น่าอยู่”

“สร้างความสุขที่เริ่มจากข้างใน”

“ขอบคุณเรื่องดีๆ”

“สร้างความพอดี”

“ลดปัญหาการฆ่าตัวตาย”

“แบ่งปันความสุข”

“สร้างกำลังใจ”

“ใช้ชีวิตให้คุ้มค่า”

“สร้างรอยยิ้มให้ทุกคน”

“มีความเท่าเทียม”

“บันทึกเรื่องราวดีๆ”

“ลดความเครียดในสังคม”

“สะดวกสบาย”

“ทำให้ทุกคนมีค่า”

“เพิ่มความรักในสังคม”

“เพิ่มคุณภาพทางด้านสาธารณะสุข”

“ลดปัญหาการฆ่าตัวตาย”

“เพิ่มอิสระให้สังคม”

“สร้างปฎิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ”

“สอนการใช้ชีวิต”

“กินอะไรไปต้องคิด”

“ลดความตึงเครียด”

“เพิ่มอิสระให้สังคม”

“ด้านการบริการ”

“ความช่วยเหลือ”

“รักตัวเอง”

“พอใจในชีวิต”

“แนวให้คำปรึกษา”

“จดจำช่วงเวลาดีๆ”

“เห็นคุณค่าในสิ่งที่มี”

“ความรับผิดชอบ”

“ไม่อิจฉา”

“ความหวังในอนาคต”

“ซื่อสัตย์กับตัวเอง”

“ไม่ต้องคิดเยอะ”

“ทำให้ทุกคนยิ้มได้”

“ชีวิตของเราใช้ซะ!”

“ให้กำลังใจ”

“ให้ความคิดแนวทาง”

“ความพอเพียง”

“อาหารการกินแบบมีความสุข”

“กำลังใจที่ดี”

“ความสัมพันธ์ที่ดี”

“บวชไม่มีกิเลส”

และ “กัญชาสร้างรอยยิ้ม…” 555+

นิยามของโครงการ: “แบ่งปันเรื่องราวดีๆ ได้ที่บอร์ดความสุข”

 ได้มาจากคัดสิ่งที่ได้เขียนลงบน Post-it ภายในกลุ่ม ซึ่งมีความคิดที่คล้ายกัน มีเป้าหมายคือการทำอะไรสักอย่างที่สามารถสร้างความสุขให้แก่คนในสังคมได้

 “บอร์ดความสุข” เป็นอีกความคิดหนึ่งที่ค่อนข้างน่าสนใจ โดยมีความตั้งใจว่าจะทำเว็บบอร์ดหรือไม่ก็เว็บโซเซียลมีเดียที่เน้นการโพสต์เรื่องราวแบ่งปันดีๆ สร้างความสุข ให้กำลังโดยเฉพาะ ซึ่งอาจจะมีการให้คำปรึกษา คำแนะนำแก่ผู้ที่มีปัญหาอีกด้วย

 ซึ่งในกลุ่มเราก็เชื่อว่าโครงการนี้จะช่วยเหลือสังคม โดยเน้นเรื่องของการพัฒนาด้านการใช้ชีวิตให้ความสุข และหวังว่าจะช่วยแก้ปัญหาเรื่องความตึงเครียดรวมไปถึงการฆ่าตัวตาย ไม่มากก็น้อย

YouTube Preview Image

สมาชิกภายในกลุ่ม:

 นาย พีรพล จันทร์ผล 1590901078

 นาย พงศกร ดีล้ำ 1590901185

 นาย นวพล บุญถูก 1590901441

 นาย วีรพล นูมหันต์ 1590901573

 นาย พงศธร มีทองแสน 1590902134

 นาย ตติต์วัชร นาควิเชียร 1590902696

ขั้นตอนที่ 2 EMPATHY

เป็นขั้นตอนที่เราจะทำการค้นหาว่า “ใคร” คือผู้ที่จะได้รับประโยชน์จากสิ่งที่เรากำลังทำนี้

 

ซึ่งสิ่งที่ได้จากการเขียน Post-it ในครั้งนี้ก็คือ

หลังจากนั้นก็ทำการวิเคราะห์เพื่อให้ได้กลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น (Target Analysis) โดยทางเราได้แบ่งออกมาเป็น 5 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้

  1. Anti เป็นกลุ่มที่คิดว่าไม่น่าจะเห็นด้วยกับโครงการนี้
  2. ไม่ต้องสนใจ เป็นกลุ่มที่คิดว่าไม่มีผลต่อโครงการที่จะทำนี้
  3. เฉยๆ คนในกลุ่มนี้จะต้องมีบางสิ่งมาคอยกระตุ้นถึงจะสนใจ
  4. Angel ถึงแม้คนในกลุ่มนี้จะมีจำนวนน้อย แต่มีก็อิทธิพลสูง สามารถชักจูงให้คนส่วนใหญ่ทำตามได้
  5. ลูกค้าทั่วไป เป็นกลุ่มที่มีจำนวนเยอะสุด ซึ่งจะเป็นผู้ใช้หลักของโครงการนี้

ต่อจากนั้นก็ทำ Heat Map ด้วยการโหวต Post-it

ซึ่งในครั้งนี้ก็ได้ User ที่มีคะแนนเยอะที่สุด (และเท่ากัน) มากถึง 5 อัน ได้แก่

 

 

YouTube Preview Image

มาต่อกันที่ขั้นตอน Key Questions คือการตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบ โดยจะมี “คำถามที่มุ่งไปสู่ความสำเร็จ” และ “คำถามที่มุ่งไปสู่ความล้มเหลว” เขียนคำถามเหล่านี้ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

คำถามที่มุ่งไปสู่ความสำเร็จ

คำถามที่มุ่งไปสู่ความล้มเหลว

นำ Post-it ที่เขียนไปแปะในฝั่ง Find Out และ Create จัดเป็นหมวดหมู่

Find Out

Create

และทำการแจกจ่ายงานให้แต่ละคนไปหาคำตอบ โดยจะหาคำตอบเฉพาะฝั่งของ Find Out
ในขั้นตอน Sharing Briefly Empathy ให้สรุปคำตอบของฝั่ง Find Out ทีแต่ละคนหามาได้และสร้างเป็นคำ Keywords ของคำตอบที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ซึ่งได้มาดังนี้

ขั้นตอนที่ 3 DEFINE

 มาต่อกันที่ขั้นตอน DEFINE ในส่วนของ Stakeholders Map โดยขั้นตอนนี้จะนำสิ่งที่เราทำก่อนหน้า มาจัดมาสร้าง Map เรียงลำดับความสำคัญ โดยเริ่มจัดลำดับความสำคัญจากสิ่งที่ใกล้ตัวผู้ใช้มากที่สุด เเบ่งเป็น 3 ส่วน

  • ส่วนวงในจะสำคัญที่สุด เพราะอยู่ใกล้ตัวผู้ใช้
  • ส่วนวงกลางจะสำคัญรองลงมาจากวงใน
  • ส่วนวงนอกจะสำคัญน้อยที่สุด เพราะมันอยู่ไกลตัวผู้ใช้มากที่สุด

 

 

แล้วทำการเชื่อมโยงความสัมพันธ์

ขั้นตอน Target Persona เราจะกำหนด User จำลองขึ้นมา 2 คน โดยจะเป็นเป้าหมายคนละกลุ่ม

  คนแรกเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย

  ส่วนคนที่สองเป็นบุคคลวัยทำงานมีครอบครัว

พอจำลอง User ขึ้นมาแล้วจะทำการให้สมาขิกในกลุ่มจำลองตัวเองเป็นบุคคลตามด้านบน เพื่อสร้าง Story ทําความเข้าใจและกิจกรรม ทั้งในด้านอารมณ์และความรู้สึก (User’s Activities)

โดยมีระยะอยู่ 3 Period คือ

  • Decision Period คือการจำลองว่า User รู้จักบอร์ดความสุข
  • Customers Period คือการจำลอง User ระหว่างการใช้งานบอร์ดความสุข
  • Ending Period คือการจำลอง User หลังการใช้งานบอร์ดความสุขว่าได้รับผลอะไรบ้าง

ทำ Touch Points 3 หัวข้อ ได้แก่

  • Need คือความต้องการของ User
  • Want คือสิ่งที่ User อยากให้มี
  • Dream คือสิ่งที่ถ้ามีได้จะดีมาก

ขั้นตอนที่ 4 IDEATION

 Finding Challenge Ideas เราจะให้คนในกลุ่มโหวตให้คะแนน Post-it เพื่อหาไอเดียท้าทายที่ดีที่สุด

แยก Post-it ตามหมวดหมู่ความสัมพันธ์ของแต่ละกลุ่ม

Idea Generation – Mixed IDEAs เราจะนำ 3 ไอเดียจากหัวข้อก่อนหน้านี้มารวบรวมเป็นไอเดียใหม่

                    

Idea Generation – Creative Board ทำการโหวตให้คะแนนไอเดียจากหัวข้อด้านบน เพื่อค้นหาสุดยอดไอเดียอีกที

Idea Generation – Discussion for New IDEA เราจะเอาไอเดียที่ได้คะแนนเยอะมาเรียงกันเพื่อสร้างแนวคิดใหม่

Customer Journey สร้าง Story ผ่านฉากละครที่สร้างขึ้นเพื่อเล่าให้คนฟัง

— วิดีโอที่นำเสนอภายในห้อง —

https://drive.google.com/open?id=1IgrNSK9eMtFuwwjfMe_g2NsP5vj50OrV

ขั้นตอนที่ 5 PROTOTYPE MVP

 พัฒนาและทําต้นแบบแนวคิดที่เราทำขึ้น

HOME หน้าแรก

Chat สำหรับพูดคุยสื่อสาร

Community ห้องสนทนา

Activity กิจกรรม

Chill Chill ผ่อนคลาย…

ขั้นตอนที่ 6 TEST

ทดสอบกับผู้ใช้งานจริง ประเมินและพัฒนา

คนที่1 นักศึกษา นาย ณธัช เกษมสวัสดิ์
คำถาม ความรู้สึกเริ่มใช้งานบอร์ดความสุข
ตอบ เครียด อกหัก โดนแฟนบอกเลิก เพราะไม่เข้าใจในตัวเรา

คำถาม ความรู้สึกในการใช้บอร์ดความสุข
ตอบ รู้สึกดีที่มีคนคอยให้กำลังใจ คอยแนะนำ

คำถาม สิ่งที่อยากได้เพิ่มหรือสิ่งที่ควรแก้ไข
ตอบ อาจจะต้องปรับเปลี่ยนพื้นหลังและเพิ่มลูกเล่นอีกหน่อย
———————————————————-

คนที่2 นักธุรกิจ นาย กฤษณะ ปิยเนติ
คำถาม ความรู้สึกก่อนเริ่มใช้งานบอร์ดความสุข
ตอบ อยากหาสถานที่เซอร์ไพรส์พาแฟนไปเที่ยวในวันครบรอบ

คำถาม ความรู้สึกในการใช้บอร์ดความสุข
ตอบ มีการแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวและยังสามารถฟังธรรมในหมวดฟังธรรมได้ด้วย หัวข้อนี้น่าสนใจดี

คำถาม สิ่งที่อยากได้เพิ่มหรือสิ่งที่ควรแก้ไข
ตอบ อยากให้มีคอมเม้นต์ในแต่ละสถานที่ที่แนะนำให้ไปเที่ยว

Nawaphol Bunthuk
at GlurGeek.Com
นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมมัลติมีเดียและระบบอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

Leave a Reply

© 2022 GlurGeek.Com