มารู้จักกับ Communication Diagram

                               Communication Diagram

      Communication Diagram  คืออะไร !!!!!

  ออบเจ็คไดอะแกรมที่แสดงความสัมพันธ์เชิงการส่งผ่านเมสเสจ

 เน้นที่การไหลของเมสเสจระหว่างออบเจ็คมากกว่า เวลา หรือลำดับของเมสเสจ

 มีประโยชน์มากในการแสดงรูปแบบของโพรเซส

 เหมาะกับการทำความเข้าใจการไหลของการควบคุม

————————————————————————————————————————————————————

————- การสร้าง Communication Diagram ————

           

  1. กำหนดบริบท Communication Diagram
  2. หาอ๊อบเจ็ค (แอคเตอร์) และความสัมพันธ์ระหว่างอ๊อบเจ็คที่เกี่ยวข้องในการทำงานร่วมกัน
  3. วาดโครงสร้างของ Communication Diagram
  4. ใส่เมสเสจ
  5. ตรวจสอบCommunication Diagram

ดังนั้นสรุปได้ดังนี้ แผนภาพยูเอ็มแอลที่อยู่ในกลุ่มพฤติกรรม ประกอบด้วย 4 แผนภาพ ดังนี้
(1) แผนภาพยูสเคส (Use Case Diagrams) แสดงการปฏิสัมพันธ์ (interact) ในสองรูปแบบคือ
ระหว่าง (1) ระบบกับผู้ใช้ หรือ (2) ระบบกับระบบภายนอก (External Systems) กล่าวคือ ยูส
เคสจะแสดงว่าใครบ้างที่เป็นผู้ใช้ระบบ และผู้ใช้เหล่านั้นมีการติดต่อกับระบบในลักษณะใด
ยูสเคสมีจุดเด่นคือเป็นแผนภาพที่สามารถทา ความเข้าใจได้ง่าย นักวิเคราะห์ระบบมักจะใช้ยูส
เคสในช่วงการรวบรวมความต้องการของระบบ (System Requirement) ซึ่งจะช่วยให้
นักวิเคราะห์สามารถกา หนดขอบเขตของระบบได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
(2) แผนภาพกิจกรรม (Activity Diagrams) แสดงให้เห็นกลุ่มของการกระทา หรือการปฏิบัติงานที่
เรียกว่า แอกชัน (action) ซึ่งประกอบขึ้นตามลา ดับขั้นรวมกันเป็นกิจกรรม (activity) ของงาน
แผนภาพกิจกรรมจะแสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการปฏิบัติงาน ทางเลือกและเงื่อนไขของทางเลือก
ที่มีในแต่ละกิจกรรม
(3) แผนภาพสเตจแมชีน (State Machine Diagrams) แสดงสถานะของระบบตามช่วงชีวิต รวมทั้ง
แสดงเหตุการณ์ใด ๆ ที่สามารถเปลี่ยนสถานะของระบบเพื่อการเสริมสร้างความเข้าใจโดยเฉพาะในการอธิบายการทา งานที่ซับซ้อน แผนภาพนี้สามารถใช้ในการอธิบายพฤติกรรมระบบทั้งหมด หน่วยย่อยของระบบ (Subsystem) หรือแม้แต่เพียงวัตถุเดียว (Single Object) ในระบบ
(4) แผนภาพปฏิสัมพันธ์ (Interaction Diagrams) แผนภาพที่จัดในกลุ่มนี้ออกเป็น 4 แบบดังนี้
–  แผนภาพลำดับ (Sequence Diagrams) แสดงการปฏิสัมพันธ์ระหว่างอ็อบเจกต์ตามลาดับของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แผนภาพลาดับมีลักษณะที่ง่ายต่อการทาความเข้าใจ จึงมักนามาช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเห็นภาพการทางานของระบบ และมักจะถูกนามาใช้เสริมกับแผนภาพกิจกรรม เนื่องจากแผนภาพกิจกรรมอาจจะประกอบไปด้วยเงื่อนไขจานวนมาก ทาให้มีทางเลือกในการทางานได้หลายเส้นทาง เราจึงนาแผนภาพลาดับมาใช้ในเฉพาะเส้นทางที่เลือกบางเส้นที่ต้องการอธิบายขยายความ
 แผนภาพการสื่อสาร (Communication Diagrams) แสดงวิธีที่อ็อบเจกต์ใช้ในการปฏิสัมพันธ์ รวมทั้งการเชื่อมโยง (connections) ที่ใช้ในการสนับสนุนการปฏิสัมพันธ์นั้น ในยูเอ็มแอลเวอร์ชันแรกเรียกแผนภาพแบบนี้ว่า แผนภาพการร่วมมือ (Collaboration Diagrams)
–  แผนภาพเวลา (Timing Diagrams) แสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะ (state) เงื่อนไข (condition) หรือบทบาท (role) ของอ็อบเจกต์ตามลาดับของเวลา โดยปกติสถานะที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นมีสาเหตุเนื่องมาจากการตอบสนองต่อเหตุการณ์ใดๆที่เกิดขึ้น
แผนภาพแสดงการปฏิสัมพันธ์อย่างหยาบ (Interaction Overview Diagrams) ใช้ในการรวบรวมแผนภาพลำดับ แผนภาพการสื่อสาร และแผนภาพเวลา เข้าด้วยกันเพื่อแสดงการปฏิสัมพันธ์ที่สาคัญที่เกิดขึ้นในระบบ

                  

เพื่อแสดงรายละเอียดพฤติกรรมของซอฟต์แวร์ เป็นแผนภาพที่สร้างคล้ายกับSequence Diagram บางครั้งเรียกว่า Collaboration Diagram แสดงการรับส่งข้อมูลระหว่าง object ใช้ตรวจสอบว่า objectและ method ทั้งหมดมีความเหมาะสม จะใช้สัญลักษณ์คล้ายกันกับ Sequence Diagram แต่จะมีเส้นลูกศรกากับบนเส้น association และมีตัวเลขกากับโดยใช้ระบบดิวอี้คือเรียงตามลาดับและระดับ พร้อมคาอธิบาย operation ที่เกิดระหว่าง object ดังภาพ

แผนภาพการสื่อสาร(communication diagram)

ข้อดี และข้อเสีย Communication Diagram
ข้อดี: ประหยัดเนื้อที่วาด , มีความยืดหยุ่นสูง,  อธิบายการปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนได้ดี และแสดง concurrent behavior ได้
ข้อเสีย: อ่านลำดับของการส่ง message ยาก และสัญลักษณ์ที่ใช้ซับซ้อน

       

     โดยทั่วไป tools ที่ใช้เขียน UML จะสามารถแปลง (convert) Sequence Diagram ไปเป็น Collaboration Diagram ได้ แต่ใน Star UML เรียกว่า Interaction Instance การออกแบบ interface เป็นการออกแบบการทางานประสานกันระหว่างระบบย่อยๆของซอฟต์แวร์ เป็นคุณลักษณะเฉพาะของชุด object และ behavior การออกแบบ Interface ทาให้ได้คุณลักษณะเฉพาะที่สามารถนาไปประยุกต์ในการพัฒนาและติดตั้งระบบซอฟต์แวร์อื่น ๆ ได้ และทาให้ผู้ใช้เกิดความเข้าใจในการทางานกับซอฟต์แวร์ได้ดียิ่งขึ้น ช่วยปรับปรุงการออกแบบและการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีคุณภาพมากขึ้น

siriporn JAturapuch
at GlurGeek.Com
สวัสดีค่ะ ตอนนี้ทุกคนได้เข้ามาอยู่ในเว็บไซต์ GLURGEEK
หน้าเพจนี้เป็นอีกหนึ่ง Member
แนะนำตัว
ชื่อ ศิริพร จตุรภุช
ชื่อเล่น พริ้ม (ฟรุ้งฟริ้ง) เพรา
เชียร์หน้ากากนักร้องคือ หน้ากากแอปเปิ้ลที่เฉลย ออกมาเป็น โอ๊ต ปราโมช

Leave a Reply

© 2022 GlurGeek.Com