การพัฒนา Project ด้วย Lean

Lean

คือวิธีการที่เป็นระบบในการระบุและกำจัดความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่เพิ่มคุณค่าภายในกระแสคุณค่าของกระบวนการโดยอาสัยการดำเนินตามจำนวนความต้องการของลุกค้าด้วนระบบดึง (PullSystem) ทำให้เกิดสภาพการไหลอย่าง ต่อเนื่องราบเรียบและทำการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ระบบอยู่เสมอ

 

ประวัติความเป็นมาของการผลิตแบบลีน


  • ผลิตเฉพาะสินค้าหรือชิ้นส่วนที่จำเป็นตามเวลาที่ต้องการภายในระยะเวลาที่กำหนดโดยมุ่งกำจัดความสูญเปล่าและคงคุณถาพให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป

 

หลักการ5 ประการของลีน (5 หลักการเอน)

ความสูญเปล่า 7 ประการ (7 เสียหรือ MUDA)

  • ความสูญเปล่าหรือภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า “มุดะ (Muda)” คือการกระทำใด ๆ ก็ตามที่ใช้ทรัพยากรไปไม่ว่าจะเป็นแรงงานวัตถุดิบเวลาเงินหรืออื่น ๆ แต่ไม่ทำให้สินค้าหรือบริการเกิด “คุณค่าหรือการเปลี่ยนแปลง” มี อยู่ 7 ประการดังนี้

 

  • การผลิตมากเกินความจำเป็น(กว่าการผลิต)

การผลิตสินค้ามากกว่าที่ลูกค้าต้องการและการผลิตสินค้าก่อนความต้องกา

  • การมีสินค้าคงคลังมากเกินความจำเป็น ( สินค้าคงคลังส่วนเกิน)

  สินค้าคงคลังประกอบด้วย

  1. การมีวัตถุดิบ (RM)
  2. งานระหว่างกระบวนการผลิต (WIP)
  3. สินค้าสำเร็จรูป (FG)
  4. วัสดุสิ้นเปลืองอะไหล่

การมีสินค้าคงคลังมากเกินความจำเป็นทำให้การไหลของผลิตภัณฑ์ (กระแส) ไม่ดีเท่าที่ควร

  • การมีของเสีย ( ข้อบกพร่อง)

การผลิตของเสียส่งผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนและเมื่อไม่สามารถควบคุมอัตราของเสียได้ย่อมมีผลกระทบต่อการวางแผนการผลิตและการส่งมอบสินค้าได้นอกจากนั้นการมีของเสียหลุดไปถึงลูกค้ายังมีผลต่อความเชื่อ มั่นในตัวผลิตภัณฑ์อีกด้วย

  • การมีกระบวนการที่ไม่จำเป็น ( การประมวลผลที่ไม่จำเป็น)

การมีขั้นตอนการผลิตที่มากเกินความจำเป็นทำให้เกิดความล่าช้าในการผลิตซึ่งทำให้กระทบต่อการจัดส่งสินค้าได้ทั้งยังทำให้เกิดความเมื่อยล้าต่อพนักงานและเป็นต้นทุนอีกด้วย

  • การรอคอย ( Waiting )

การรอคอยต่างๆไม่ให้ประโยชน์ต่อการผลิตเป็นการเสียเวลาโดยไม่ได้ผลผลิตเช่นการรอวัตถุดิบรออุปกรณ์รอคนงานรอเครื่องจักรรออะไหล่รอคำสั่งรอการขนย้ายรอการตรวจสอบรอการตัดสินใจเป็นต้น

  • การเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่จำเป็น ( การเคลื่อนไหวที่ไม่จำเป็น)

การเคลื่อนไหวร่างกายมากเกินความจำเป็นทำให้สูญเสียเวลาในการผลิตและเกิดความเมื่อยล้า

  • การขนย้ายที่ไม่จำเป็น ( การขนส่งที่ไม่จำเป็น)

การขนส่งขนย้ายที่มากเกินไปหรือมีระยะทางที่ยาวไกลส่งผลกระทบต่อต้นทุนและเวลาในการผลิต

ประโยชน์และข้อดีข้อเสียของลีน

ข้อดี

  • 1 ไม่มีต้นทุนจมกับของคงคลัง
  • 2 มีความยืดหยุ่นสูงสามารถปรับกระบวนการได้ง่าย
  • 3 สามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที
  • 4 พนักงานทุกฝ่ายมีการรับทราบข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและทั่วถึง
  • 5 การเงินมีสภาพคล่องสูง
  • 6 มีการขจัดความสูญเปล่าอย่างต่อเนื่อง
  • 7 ทำให้ศักยภาพการแข่งขันสูงอยู่ตลอดเวลา
  • 8 ทำให้กระบวนการสามารถผลิตสินค้าเพื่อสนองตอบความต้องการที่เปลี่ยนแปลงของลูกค้าได้อย่าง
  • 9 ช่วยให้องค์กรมีการเติบโตที่ยั่งยืน
  • 10 องค์กรมีประสิทธิภาพในด้านการสื่อสารและประสิทธิภาพในการทำงานที่ดี
  • 11 ต้นทุนในการผลิตลดลง
  • 12 มีผลการปรับปรุงเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างน้อย 10%
  • 13 ต้นทุนการผลิตอยู่ภายใต้การควบคุม
  • 14 เสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรในองค์การสู่ความเป็นเลิศในการผลิต

ข้อเสีย

  • 1 ยากต่อการสื่อสารและทำความเข้าใจ
  • 2 เกิดการสูญเสียจากการเปลี่ยนรุ่นการผลิตของเครื่องจักร
  • 3 เกิดการสูญเสียจากอัตราการใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรอุปกรณ์
  • 4 ยากต่อการบริหารและการจัดการการเปลี่ยนแปลง
  • 5 มีความยุ่งยากในการวางแผนและควบคุมการผลิต
  • 6 ต้องการความร่วมมือจากผู้ผลิตจากภายนอก (ผู้ผลิต)
  • 7 ต้องสร้างแรงงานแบบหลายทักษะ
  • 8 ผ้กำหนดการเริ่มโครงการลีนเข้าสู่องค์กรต้องมีการยอมรับด้วยว่าลีนเป็นหนทางสู่การปรับปรุงไม่ใช่เป็นเพียงแค่การสั่งการเท่านั้น

 

รายชื่อ

นายตรินท์อิงควระ 1550900920
นางสาวสิริญาพรโพธิ์ใคร 1560900027
นายดนัยค้ายา 1560900118
นายธนกรเหล็กไหล 1560900506
นายบงกชคลาดเคลื่อน 1560900597

Fang Siriyaporn
at GlurGeek.Com

Leave a Reply

© 2022 GlurGeek.Com